ผู้รับมอบอำนาจจะมอบอำนาจนั้นต่อไปอีกไม่ได้ และหลักการนี้คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... จึงให้หารือสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อถือเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... และหากการกระทำดังกล่าวเป็นการละเมิดแล้วอาจต้องรับผิดตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์...
เนื่องจากการควบคุมมาตรฐานของรถยนต์ที่ประกอบจากชิ้นส่วนรถยนต์เก่าทำให้สมาชิกของสมาคมฯได้รับความเดือดร้อน และเห็นว่าเจตนารมณ์ของกฎหมายของสำนักงานฯต้องการควบคุมเฉพาะรถยนต์ใหม่... สำนักงานฯจึงขอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ความเห็นในปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าวเพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติต่อไป... คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๔) ได้พิจารณาปัญหาข้อหารือดังกล่าวประกอบกับได้ฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม...
หรือไม่มีเจ้าหน้าที่อื่นปฏิบัติหน้าที่แทนผู้นั้นได้แล้ว ถือเป็นคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย... “คำสั่งทางปกครอง” ว่าหมายถึงการใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล... นั้น เป็นเพียงการดำเนินธุรกรรมซึ่งเป็นความสัมพันธ์ตามกฎหมายส่วนแพ่งและพาณิชย์ มิได้เป็นการใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ตามบทนิยามของคำว่า...
ประกอบกับไม่มีกฎหมายและระเบียบกำหนดหลักการเกี่ยวกับเรื่องนี้จึงไม่น่าจะระบุเงื่อนไขอื่น... ประการดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ ประการใด คณะกรรมการกฤษฎีกา (ที่ประชุมร่วมกรรมการร่างกฎหมาย... ก็ให้ใบลาออกเป็นอันพับไปตามตัวอย่างเท่านั้น คณะกรรมการกฤษฎีกา (ที่ประชุมร่วมกรรมการร่างกฎหมาย...
ตามอัตราและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติเวนคืนฯ ดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... ว่า การนิคมอุตสาหกรรมฯ ได้ดำเนินการตามความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... แปลงเท่านั้น เพราะมีปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดราคาที่ดิน คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...
จะต้องออกจากราชการหรือไม่ ซึ่งคณะรัฐมนตรีขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นในทางกฎหมายนั้น... คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย กองที่ ๔) ได้ฟังข้อเท็จจริง ข้อสงสัยในตัวบทของกฎหมายจากผู้แทนกระทรวงการต่างประเทศ... พ.ศ. ๒๔๙๗ ภายหลังพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการที่ได้ถูกตราเป็นกฎหมายเมื่อ พ.ศ...
เมื่อข้อกฎหมายไม่ถูกต้องเช่นนี้สำหรับข้อเท็จจริงคณะกรรมการฯ เห็นว่ายังไม่จำเป็นต้องพิจารณา... หรือว่าเพียงถือเอาสำนวนการสอบสวนที่ผู้อื่นทำไว้มาเป็นหลักฐานพิจารณาสั่งให้ออกก็ได้ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... ด้วยเหตุนี้การให้ผู้ใหญ่บ้านออกจากตำแหน่งจึงไม่อยู่ในบังคับที่ว่าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน...
จะให้ผู้ว่าการที่ได้รับแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตำแหน่งแต่ละคราวน้อยกว่าสี่ปีได้หรือไม่ เจ้าหน้าที่ฝ่ายกฎหมายบางรายเห็นว่าคณะกรรมการด้วยความเห็นชอบของรัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้ว่าการให้มีวาระอยู่ในตำแหน่งแต่ละคราวน้อยกว่าสี่ปีได้... .๒๕๒๑ได้กำหนดการมีวาระอยู่ในตำแหน่งของผู้ว่าการคราวละสี่ปี ดังนั้น เมื่อได้มีการแต่งตั้งผู้ว่าการแล้ว โดยผลของกฎหมายย่อมทำให้ผู้ว่าการมีวาระอยู่ในตำแหน่งจนครบสี่ปีการแต่งตั้งให้ผู้ว่าการอยู่ในตำแหน่งไม่ครบคราวละสี่ปีจึงเป็นการแต่งตั้งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย... คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๔) ได้พิจารณาปัญหาข้อหารือดังกล่าวประกอบกับได้รับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม...
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๔๙๙ เมื่อใด คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... ให้นับวันรับราชการในระหว่างเป็นข้าราชการพลเรือนวิสามัญชั่วคราวนั้นเป็นวันรับราชการตามความหมายแห่งพระราชบัญญัตินี้และตามความหมายแห่งกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... และให้นับเวลาราชการในระหว่างเป็นข้าราชการพลเรือนวิสามัญชั่วคราวนั้นเป็นวันรับราชการตามความหมายแห่งกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและตามความหมายแห่งกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ...
และได้แจ้งมาเพื่อขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาช่วยดำเนินการพิจารณาโดยด่วน คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... แต่อย่างไรก็ดี มาตรา ๙๘ นี้อาจนำมาใช้บังคับแก่บุคคลทุกคนซึ่งจะต้องเป็นผู้รับผิดในการฝ่าฝืนต่อกฎหมายศุลกากร... ๙๘ ผู้บรรทุกของหาต้องรับผิดในการฝ่าฝืนกฎหมายศุลกากรไม่ เพราะเมื่อเขาได้ส่งมอบของให้แก่ผู้ทำการขนส่งแล้ว...