(พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๔๗๑ มาตรา ๖) คือในกรณีที่ทางราชการเลิกตำแหน่ง... (วรรค ๓) ว่า ผู้ต้องออกจากราชการหรือต้องปลดออกจากราชการตามมาตรา ๔๗ ถ้าเป็นผู้อยู่ในลักษณะที่จะได้บำเหน็จบำนาญตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการพลเรือนก็มีสิทธิที่จะได้รับบำเหน็จบำนาญ... ๑๘ ปี ฉะนั้นเวลาราชการทั้งหมดของหลวงถวิลวรวิจารณ์จึงมีประมาณ ๒๙ ปี แต่มาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการพลเรือน...
ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการพลเรือน พุทธศักราช ๒๔๗๑ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่ใช้อยู่ในขณะที่นายเฉลิม... เศวตนันทน์ กลับเข้ารับราชการ และมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการฝ่ายพลเรือน... เพิ่งจะมาร้องขอเมื่อป่วยนานจนทางราชการให้ออกจากราชการไปแล้ว จึงเป็นอันหมดสิทธิที่จะคืนบำเหน็จได้...
สร ๐๔๐๓/ว.๘๓ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๐๙ และให้ถือปฏิบัติการนับอายุบุคคลและการพ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการตามนัยหนังสือกระทรวงการคลัง... ๑๓ กันยายน ๒๕๐๙ และให้ถือปฏิบัติการนับอายุบุคคลและการพ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... ๒๑วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ ที่บัญญัติว่า “ก่อนสิ้นเดือนสุดท้ายของปีงบประมาณของทุกปี...
เพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ให้นับเวลาระหว่างที่เป็นศาสตราจารย์ประจำ... เป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญด้วย” อีกทั้ง มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... เพื่อคำนวณบำเหน็จบำนาญตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ให้นับเวลาระหว่างที่เป็นศาสตราจารย์ประจำ...
ต้องพิจารณาจากกฎหมายในเรื่องนั้น ๆ โดยเฉพาะหรือกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง ซึ่งได้แก่ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... ๔ แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ.๒๕๒๖ ซึ่งได้ให้นิยามคำว่า “ข้าราชการ” ว่า หมายความว่า ทหารและข้าราชการพลเรือน...
เว้นแต่กฎหมายจะบัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง สำหรับข้อเสนอแนะของกระทรวงมหาดไทยว่าควรให้นำเอาการนับเวลาราชการเพื่อขอพระราชทานบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... พ.ศ.๒๔๙๔ ซึ่งมาตรา ๒๓ วรรคสอง กำหนดว่า “ให้นับเวลาราชการระหว่างที่เป็นครูประชาบาลที่ติดต่อกับวันที่ได้มีการยกฐานะหรือการเปลี่ยนฐานะนั้นเป็นเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญได้ด้วย... การที่พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ มีบทบัญญัติไว้อย่างหนึ่ง แต่ในพระราชบัญญัติเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลาไม่มีบทบัญญัติอย่างนั้น...
เพื่อให้ดำรงสถานะเป็นข้าราชการตำรวจที่มีสิทธิในการนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... เพื่อให้ดำรงสถานะเป็นข้าราชการตำรวจที่มีสิทธิในการนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... การแต่งตั้ง และการออกจากราชการของข้าราชการตำรวจ พ.ศ. ๒๕๐๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๒๓ และเสียสิทธิที่จะได้ประโยชน์จากการนับเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตามนัยพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ...
มีสิทธิที่จะได้รับเงินสงเคราะห์ตามมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติสงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ... เนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ยังมีสิทธิที่จะได้รับบำนาญพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการโดยอนุโลมตามมาตรา... ฯลฯ และทั้งมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ฯลฯ...
๑๙ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๙๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... (ฉบับที่ ๑๘) พ.ศ. ๒๕๔๓ ที่กำหนดให้ข้าราชการซึ่งมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์แล้ว เป็นอันพ้นจากราชการเมื่อสิ้นปีงบประมาณที่ข้าราชการผู้นั้นมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์... ข้าราชการในมหาวิทยาลัยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีจึงต้องพ้นจากตำแหน่งดังกล่าวเพราะพ้นจากตำแหน่งข้าราชการในมหาวิทยาลัยตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา...
ความหมายของคำเหล่านี้จึงต้องพิจารณาจากกฎหมายในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ หรือกฎหมายอื่นที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ... และตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๐๐ คำว่า “ข้าราชการส่วนท้องถิ่น... ส่วนการที่กำนันและผู้ใหญ่บ้านจะเป็นพนักงานส่วนท้องถิ่นหรือไม่นั้น ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น...