๒๕๒๐๒ 5โปรดดูเซิงอรรถที่ ๓, ข้างตัน *บับทึก เรื่อง หารือปัญหาเกียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติมหาวิทย"ลัยธรรมศาสตร์...
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจสอบแล้ว ปรากฏว่ากฎหมายไทยเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวมีบัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมายหมายแพ่งและพาณิชย์...
พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งข้อ ๔แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติฯ...
เพราะข้อ ๕๑ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๕ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ บัญญัติห้ามไว้... คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๒) จึงเห็นว่ากรมทางหลวงย่อมอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติดังกล่าวตั้งศูนย์วิเคราะห์และวิจัยเพื่อประโยชน์แก่งานทางและปลูกสร้างอาคารสำนักงานของกรมทางหลวงเพื่อประโยชน์ในการบำรุงรักษาทางหลวงในเขตทางหลวงพิเศษ...
แต่บริษัทได้โต้แย้งว่าการดำเนินการตามมติพิเศษดังกล่าวเป็นเจตนาของผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิทั้งยังไม่มีผู้ใดคัดค้านและกรณีไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัทแต่อย่างใด... ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้แบ่งหุ้นออกเป็นสองประเภท คือ หุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ มาตรา ๑๑๐๓ บัญญัติว่า...
กระทรวงศึกษาธิการจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาแนวทางในการออกกฎหมายว่าควรจะออกกฎหมายในลักษณะอย่างไรจึงจะบรรลุผลตามนัยวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น และถ้าจะให้กรมต่างๆ ออกพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการเป็นส่วนภูมิภาค... ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ข้อ ๕๕ (๒) และข้อ ๖๑ (๒) เสียใหม่ โดยบัญญัติเพิ่มเติมเป็นวรรคสองของข้อ...
ปัญหาต่อมาจึงเกิดขึ้นว่า เมื่อได้ลงนามในความตกลงสมบูรณ์แบบแล้วหัวข้อความตกลงยังมีผลใช้บังคับหรือไม่ บทบัญญัติในหัวข้อความตกลงมีมากกว่าในความตกลงสมบูรณ์แบบ... ไม่น่าที่จะอาศัยบทกฎหมายภายในซึ่งขัดต่อความผูกพันดั่งกล่าวนั้นขึ้นอ้างได้ แต่เมื่อปรากฏว่าศาลยังคงยึดถือพระราชกฤษฎีกาเป็นใหญ่ก็จำต้องแก้ไขพระราชกฤษฎีกาเสียใหม่...
โดยให้รับผิดคนละส่วนเท่า ๆ กัน คิดเป็นเงินคนละ ๑๒๐,๕๕๒.๓๕ บาท ตามนัยมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติ...
แล้ว และเมื่อพนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟ้องผู้ต้องหา มาตรา ๑๔๒ วรรคสาม ได้บัญญัติไว้ชัดเจนว่าให้พนักงานสอบสวนส่งสำนวนการสอบสวนพร้อมกับผู้ต้องหาไปยังพนักงานอัยการ... ผู้ต้องหาหรือผู้ต้องขังถูกจำคุกอยู่ในคดีอื่นที่ศาลได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้วและอยู่ในเขตอำนาจของศาลอื่น มาตรา ๔๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บัญญัติว่า... กรณีนี้จะไม่มีผลทำให้สำนวนการสอบสวนตามมาตรา ๑๔๒ เปลี่ยนไปเป็นสำนวนการสอบสวนตามมาตรา ๑๔๑ ได้ เพราะมาตรา ๑๔๒ วรรคสาม บัญญัติไว้อย่างชัดเจนว่า...
โดยได้รับแจ้งถึงผลของความยินยอมว่าจะมีผลเป็นการทำให้นิติสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครอบครัวกำเนิดของเด็กสิ้นสุด จะขัดกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิในครอบครัวเดิมของบุตรบุญธรรม... จึงกำหนดไว้เพียงเพื่อให้หน่วยงานที่ต้องให้ความยินยอมได้รับรู้สถานะทางกฎหมายของประเทศผู้รับบุตรบุญธรรมเท่านั้น เพราะหากต่อไปมีการฟ้องร้องในศาลของประเทศผู้รับบุตรบุญธรรม กฎหมายสารบัญญัติของประเทศนั้นอาจเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับในกรณีดังกล่าวได้...