หน้า 591 จากผลการค้นหาประมาณ 7,209 รายการ (0.07 วินาที)

โดยจะพ้นจากสภาพการเป็นพนักงานได้ก็เนื่องจากเหตุเช่นเดียวกับข้อ ๑ ใช่หรือไม่ ทั้งนี้ เนื่องจากตามพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย... ๑๙ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๒๑ ที่กำหนดให้ผู้ว่าการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ไม่เกินสองวาระติดต่อกันนี้เป็นบทบัญญัติว่าด้วย... แต่ในเรื่อง “สถานภาพความเป็นพนักงาน” นั้น จะต้องพิจารณาจากมาตรา ๑๗ (๕) หรือ (๖) แห่งพระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย...

รัฐบาลมีอำนาจอันใดในการที่จะค้ำประกันเงินกู้ที่บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยกำลังดำเนินการเจรจากู้เงินจากสถาบันเครดิตเพื่อการบูรณะแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันและธนาคารโลกเพื่อนำมาสมทบทุนนั้น เมื่อพิจารณามาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย... พ.ศ. ๒๕๐๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย... ทำสัญญาเป็นผู้ค้ำประกันแทนรัฐบาล เพราะกระทรวงการคลังมีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง...

หุ้น มูลค่าหุ้นละ ๑๐๐ บาท ตามประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษ (ซึ่งประกาศก่อนใช้พระราชบัญญัติลักษณะเข้าหุ้นส่วนและบริษัท... บริษัทศรีราชาต้องมีความผูกพันตามประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทนั้น ข) ข้อบัญญัติที่กล่าวมาแล้ว... เพราะฉะนั้นบริษัทจึงอาจลดทุนลงในคราวเดียวหรือหลายคราวจนเหลือหนึ่งในสี่ของทุนทั้งหมดก็ได้ แต่การลดทุนเช่นนั้นจักต้องไม่ขัดต่อข้อบัญญัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องไม่ขัดต่อข้อบัญญัติที่ได้กำหนดขึ้นไว้แต่เดิมโดยประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษซึ่งมีผลเป็นกฎหมาย...

จะทำให้สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา มีสถานภาพเป็นหน่วยงานทางการศึกษาตามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู... ได้พิจารณาปัญหาดังกล่าวข้างต้นแล้ว มีความเห็นว่า โดยที่ปัญหาข้อหารือดังกล่าวเป็นปัญหาการตีความพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู... พ.ศ. ๒๕๒๓ ซึ่งเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้าราชการครูตามมาตรา ๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว...

โดยมีผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ (กรมทะเบียนการค้า) เป็นผู้ชี้แจงข้อเท็จจริงแล้ว มีความเห็นว่า มาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์... พ.ศ.๒๕๒๑ บัญญัติให้ความผิดเกี่ยวกับการกระทำละเมิดลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นความผิดอันยอมความได้... ฉะนั้น ความผิดต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้จึงเป็นความผิดต่อส่วนตัวซึ่งจะต้องมีคำร้องทุกข์...

ระบุชื่อเรียกตำแหน่งไว้ว่า “ปลัดกระทรวง” และ “ปลัดทบวง” ซึ่งสอดคล้องกับชื่อตามที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... จึงต้องเรียกตามนั้นและสมควรระบุชื่อส่วนราชการควบไว้กับชื่อตำแหน่งเช่นเดียวกับกรณีตาม ๓ เช่น หัวหน้ากอง กองกลาง ผู้อำนวยการกอง กองการเจ้าหน้าที่ เป็นต้น (ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... พุทธศักราช ๒๔๗๖ ใช้ว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ” (รก. ๒๔๗๖/๔๒๗) และในบทบัญญัติมาตรารักษาการแห่งพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาทั้งหลายก็ใช้เรียกชื่อตำแหน่งดังกล่าวไว้เช่นนั้นตลอดมา...

เมื่อข้อเท็จจริงในเรื่องนี้ปรากฏว่าบริเวณที่นางคทาลัยฯ ขออนุญาตก่อสร้างอาคารยังไม่มีกฎกระทรวงหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร... เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ซึ่งออกตามมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ... จำเลยไม่อนุญาตให้ก่อสร้างอาคารโดยอ้างว่า การก่อสร้างอาคารจะขัดต่อร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร...

เมื่อกรมส่งเสริมการส่งออกมีคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวชำระเงินตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่... พ.ศ.๒๕๓๙ คำสั่งดังกล่าวถือเป็นคำสั่งทางปกครองตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง... การที่เจ้าหน้าที่ดังกล่าวได้ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์นั้น เป็นการใช้สิทธิตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา...

จึงไม่สามารถให้ใช้พื้นที่บริเวณดังกล่าวได้เนื่องจากเป็นการผิดวัตถุประสงค์ของการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว... ที่ดินที่เป็นปัญหานี้เป็นอสังหาริมทรัพย์ที่เวนคืนมาเพื่อสร้างและขยายทางหลวงตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อสร้างและขยายทางหลวง... เขตยานนาวากรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๐ อสังหาริมทรัพย์นั้นจึงอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว...

ในกรณีเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบรุนแรง ก็ให้หารือกระทรวงเจ้าสังกัดหรือเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเป็นรายๆ ไป โดยที่พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย... การดำรงตำแหน่งในทางการเมืองของนายสมเจตน์ ทิณพงษ์ จึงอยู่ในข่ายที่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติดังกล่าว... และในขณะเดียวกันก็รับเงินเดือนตำแหน่งวุฒิสมาชิกเป็นเงิน ๑๓๒,๕๘๐.๖๔ บาท อันเป็นลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย...