เป็นผู้ชี้แจงข้อเท็จจริงแล้ว มีความเห็นดังนี้ พระราชบัญญัติศุลกากร พุทธศักราช ๒๔๖๙ เป็นกฎหมายที่กำหนดให้กรมศุลกากรมีอำนาจควบคุมการนำของทั่วไปเข้ามาในราชอาณาจักรให้ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร... ซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไป ทั้งนี้ ตามนัยมาตรา ๑๒๐ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ที่กำหนดว่าหากพระราชบัญญัติใดที่บัญญัติขึ้นภายหลังในเรื่องอันเกี่ยวแก่ศุลกากรมีความประสงค์ชัดแจ้งเป็นการเพิกถอน... จำกัด เปลี่ยนแปลง หรือถอนไปเสียซึ่งอำนาจแห่งพระราชบัญญัติศุลกากรฯ ให้บังคับตามกฎหมายที่บัญญัติภายหลังนั้น...
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม หรือกรมโยธาธิการ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... พ.ศ.๒๕๓๕ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๗) ได้พิจารณาแล้ว มีความเห็น... ในระดับจังหวัด แต่ทั้งนี้ การกำหนดหน่วยงานดำเนินการดังกล่าวควรคำนึงถึงอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานนั้นด้วย...
ได้ตรวจสอบพบว่าขณะนี้วัดบวรมงคลกำลังมีการก่อสร้างฌาปนสถาน ซึ่งเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง... เว้นแต่วัดบวรมงคลมีใบอนุญาตหรือหลักฐานอื่นใด นอกจากนั้น ในการจัดตั้งสุสานหรือฌาปนสถานยังต้องปฏิบัติตามกฎหมายอื่นด้วย... จึงต้องพิจารณาข้อห้ามและข้อยกเว้นในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการสุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถานตามข้อ...
ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการละเมิดจึงเป็นคำสั่งที่ออกโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย... ๒๕๓๖ และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินรางวัลในคดีจับกุมผู้กระทำความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับการขนส่งทางบก... เรียกให้เจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งสองรายชดใช้เงินนั้น ย่อมเป็นการออกคำสั่งที่ไม่ได้ดำเนินการให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด...
เพื่อประโยชน์และความชัดเจนในทางปฏิบัติแก่หน่วยราชการที่จะต้องควบคุมดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายและเป็นประโยชน์กับประชาชนโดยทั่วไปด้วย... คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๖) ได้พิจารณาปัญหาดังกล่าว โดยได้รับฟังคำชี้แจงข้อเท็จจริงจากผู้แทนสำนักนายกรัฐมนตรี... เพียงแต่มีเงื่อนไขว่าให้มีการออกกฎกระทรวงกำหนดลักษณะหรือขอบเขตของกิจการที่จะให้มีการควบคุมตามกฎหมายนี้ไว้ด้วย...
เนื่องจากเรื่องดังกล่าวเป็นการดำเนินการตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. ๒๔๘๔ ซึ่งเป็นกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย... ให้อำนาจออกกฎกระทรวงเฉพาะเรื่องค่าธรรมเนียมเท่านั้น คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... คณะที่ ๑) มีความเห็นเป็นข้อสังเกตว่า กรณีดังกล่าวน่าจะเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย สมควรที่จะได้มีการแก้ไขกฎกระทรวงเสียใหม่ให้มีความถูกต้องต่อไป...
ย่อมเป็นอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดที่จะใช้ดุลพินิจว่าการเรียกเปิดประชุมสภาจังหวัดสมัยวิสามัญแต่ละครั้งนั้นมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งจังหวัดหรือไม่ จึงขอหารือมาเพื่อที่จะได้ข้อยุติที่แน่ชัด คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาทุกประการ และจากถ้อยคำในมาตรา ๑๙ นี้เอง ก็เห็นได้ชัดว่ามีทั้งกรณีที่กฎหมายให้ดุลพินิจผู้ว่าราชการจังหวัดและกรณีที่กฎหมายบังคับให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจะต้องปฏิบัติตาม... ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเรียกประชุมสภาจังหวัดเป็นการประชุมสมัยวิสามัญภายในกำหนดสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอดังกล่าวจากประธานสภาจังหวัด” ซึ่งถ้าหากว่ากฎหมายต้องการจะให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจใช้ดุลพินิจก็ควรจะบัญญัติข้อความทำนองเดียวกับมาตรา...
จึงได้นับเวลาราชการให้ตั้งแต่วันขึ้นทะเบียนทหารกองประจำการเป็นต้นมา คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... เฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนายทหารชั้นสัญญาบัตรนั้น พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร พ.ศ. ๒๔๖๐ อันเป็นกฎหมายซึ่งใช้อยู่ในเวลาที่หลวงรถรัฐวิจารณ์รับราชการทหาร... นี้มีปัญหาว่า เมื่อใดจึงจะถือว่าได้มีการขึ้นทะเบียนทหารกองประจำการไว้แล้ว ทั้งนี้ เป็นปัญหาข้อกฎหมายซึ่งจะต้องพิจารณาตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นและที่ใช้อยู่ในเวลานั้นหาใช่ปัญหาข้อเท็จจริงไม่...
๓๕ มาบังคับใช้โดยอนุโลม ฉะนั้น เพื่อให้ได้ข้อยุติและเป็นบรรทัดฐานในการวินิจฉัยข้อกฎหมายในการปฏิบัติต่อไป... เพื่อพิจารณาปัญหาดังกล่าว ทั้งนี้ ตามข้อ ๑๒ ของระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกาว่าด้วยการประชุมของกรรมการร่างกฎหมาย... ซึ่งหากมีบทกฎหมายเช่นนี้ในขณะทำคำสั่งทางปกครองแล้ว เจ้าพนักงานท้องถิ่นคงจะไม่ทำคำสั่งทางปกครองนั้น...
และต่อมาเจ้าหน้าที่เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ได้ดำเนินการจ่ายเงินค่าทดแทนและวางเงินค่าทดแทนโดยถูกต้องตามขั้นตอนของกฎหมายไปแล้ว... ในขณะนี้คดียังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล ผู้แทนกระทรวงกลาโหมจึงได้ชี้แจงต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... อยู่ในกระบวนการดำเนินการของอนุญาโตตุลาการ ซึ่งคู่กรณีชอบที่จะตกลงแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการขึ้นใหม่เพื่อชี้ขาดตามบทกฎหมายต่อไป...