หน้า 589 จากผลการค้นหาประมาณ 7,209 รายการ (0.08 วินาที)

ตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย... หรือคณะกรรมการบริหารกำหนดตามมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยฯ... เป็นสถาบันการเงินที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยฯ...

(Trading with the Enemy Act ๑๙๓๙, ๒ & ๓ Geo. ๖, Ch.๘๙) อาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัตินี้... อย่างอื่นของเยอรมันนำฝากไว้ที่ธนาคารอังกฤษและทั้งหมดนี้มิได้ถอนคืนมา จึงถูกกักไว้ตามพระราชบัญญัติปี... ๑๙๓๙ ว่าด้วยทรัพย์สินของชนชาติศัตรู หรือ ในวันใดวันหนึ่งก่อนออกพระราชบัญญัติฉบับนั้น...

แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ต่อมาคณะกรรมการ ป.ป.ป.เห็นว่า โดยที่พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราบการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ... ป.ป.ป.เป็นส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรมในสำนักนายกรัฐมนตรีและพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ... ซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไปในการบริหารราชการแผ่นดิน และเมื่อพิจารณาประกอบกับมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ...

๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๙๕ ต่อมา เมื่อประกาศของคณะปฏิวัติ... ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ยกเลิกพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน... พ.ศ. ๒๔๙๕ แล้ว บทเฉพาะกาลข้อ ๖๙ แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับดังกล่าวได้บัญญัติให้พระราชกฤษฎีกาแบ่งราชการออกเป็นส่วน...

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาปัญหาดังกล่าวแล้วเห็นว่า สาระสำคัญประการหนึ่งของพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง... และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติมก็คือการควบคุมการใช้เงินสงเคราะห์ที่เก็บได้จากการส่งยางออกนอกราชอาณาจักรว่าจะต้องนำไปใช้เฉพาะกิจการที่ได้ระบุไว้ในพระราชบัญญัติ... ดังจะเห็นได้จากบทบัญญัติมาตรา ๗ และมาตรา ๑๘ (๓) แต่พระราชบัญญัติดังกล่าวไม่ได้ห้ามการนำเงินประเภทอื่นมาช่วยสงเคราะห์การทำสวนยาง...

ที่มีลักษณะเป็นการกระทําล่วงหน้าก่อนครบวาระ «บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง ปัญหาข้อกฎหมายตามพระราชบัญญัติกองทุน... มิใช่เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่คณะกรรมการกฤษฎีกาจะรับไว้พิจารณาวินิจฉัยได้ ทั้งนี้ ตามมาตรา ๓ to) แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา... WA. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ คณะกรรมการกฤษฎีกา (ฉบับที่ @) Wa. ๒๕๕๒...

กฎหมายฉบับดังกล่าวควรจะครอบคลุมทั้งทางด้านการเงินและการให้อำนาจปฏิบัติการต่างๆ โดยรวมเป็นกฎหมายฉบับเดียวได้หรือไม่ และควรออกเป็นพระราชกฤษฎีกาหรือพระราชบัญญัติ... พ.ศ. ๒๕๐๔ จึงไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ดังนั้น สมควรหารือกับกระทรวงการต่างประเทศในเรื่องนี้เช่นเดียวกัน... มาร่วมพิจารณาด้วย สำหรับกฎหมายที่อาจใช้เป็นแบบอย่างในการพิจารณาเรื่องนี้ก็มี เช่น พระราชบัญญัติให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับกองทุนการเงินและธนาคารระหว่างประเทศ...

พุทธศักราช ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๙๕ มาตรา ๕๐ (๑) ได้บัญญัติถึงการสิ้นสุดพร้อมกันของสมาชิกภาพแห่งสภาผู้แทนราษฎรไว้ว่า... “ถึงคราวออกตามวาระหรือยุบสภา” และมาตรา ๖๕ ได้บัญญัติถึงการยุบสภาไว้ว่า “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร... ” จากบทบัญญัติดังกล่าวนี้จะเห็นได้ว่า การสิ้นสุดพร้อมกันของสมาชิกภาพแห่งสภาผู้แทนราษฎรตามวิธีการยุบสภานั้นจะต้องกระทำโดยพระราชกฤษฎีกา...

จึงเป็น "หน่วยงานของรัฐ" ในประเภท "หน่วยงานอื่นของรัฐ" ตามมาตรา ๔แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ... แต่ขณะนี้ยังมิได้มีกฎกระทรวงกำหนดให้ บสท.เป็น "หน่วยงานอื่นของรัฐ" บสท.จึงยังไม่อยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติดังกล่าว... แต่อย่างไรก็ตามมาตรา ๘๔ แห่งพระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้บัญญัติไว้ว่า...

๑๔๖ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า “ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร... แต่ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีคำรับรองนายกรัฐมนตรี... คือ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ดังปรากฏตามมาตรา ๒๙๙ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติว่า “ถ้าพระมหากษัตริย์ทรงพระราชดำริเห็นว่า...