ทั้งนี้ขอหารือว่าจะขัดกับวิธีการร่างกฎหมายประการใดหรือไม่ คณะกรรมการกฤษฎีกา... กล่าวคือจะเป็นวิธีเลือกตั้งหรือวิธีเลือกก็ตาม ต้องทำตามกฎหมายฉบับเดียวกัน คือกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกพฤฒสภา... เป็นแต่เพียงกฎหมายว่าด้วยการเลือกสมาชิกพฤฒสภาเท่านั้น หาใช่กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกพฤฒสภาไม่...
หากมีกฎหมายอื่นกําหนดในเรื่องใดอยู่แล้ว ก็ให้ใช้บังคับ ในเรื่องนั้นตามกฎหมายอื่นนั้น... ๒๕ ของรัฐธรรมบูญแห่งราซอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ เป็นหลักการว่า การใดที่มีได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่นซึ่งหมายถึงกฎหมาย... การตราข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครให้ผิดแผกไปจากกฎหมายและอนุบัญญัติ ที่ออกตามกฎหมายนั้น...
ตามกฎหมาย ซึ่งน่าจะไม่ถูกต้องตามเจตนารมณ์ของกฎหมายในเรื่องนี้ เพราะควรสงวนสิทธิไว้กับผู้ที่มีสัญชาติไทยเท่านั้น... เพราะคำนิยามที่มีอยู่ในกฎหมายฉบับใดย่อมกำหนดขึ้นเพื่อใช้สำหรับกฎหมายฉบับนั้นเท่านั้น... หากแต่เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยทหาร ตำรวจ หรือข้าราชการในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนั้นๆ...
ปรับ" นั้นเป็นข้อยืนยันว่า คำว่าปรับซึ่งมีปัญหาโต้เถียงกันอยู่นี้เป็นค่าปรับตามความหมายแห่งกฎหมายลักษณะอาญา... (ดูกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา ๒๘) ตามกฎหมายลักษณะอาญา มาตรา ๒๙ สิ่งของที่ริบนั้นจะต้องนำส่งศาล... พ.ศ.๒๔๗๖ นั้นคือ ค่าปรับตามความหมายที่ใช้อยู่ในกฎหมายลักษณะอาญา (ลงชื่อ) เดือน...
คณะที่ ๗) เห็นว่า หลักการทั่วไปในเรื่องการใช้บังคับกฎหมายในกรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายนั้น... ถ้ากฎหมายที่ออกมาใช้บังคับใหม่ได้ยกเลิกกฎหมายที่ใช้อยู่เดิม ผลในทางกฎหมายคือกฎหมายเดิมที่ถูกยกเลิกไม่สามารถใช้บังคับต่อไปได้ทั้งหมด... แต่บางกรณีกฎหมายที่ออกมาใหม่อาจมีบทเฉพาะกาลรองรับให้นำบทบัญญัติในกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปบางส่วนมาใช้บังคับต่อไปได้เป็นการชั่วคราวในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย...
กรม และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่จะต้องศึกษา เตรียมการ รวมทั้งประสานงานกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อผลักดันให้การตรากฎหมายตามนโยบายของรัฐบาลนั้นสามารถบรรลุผลได้... เป็นแต่เพียงการให้ความเห็นชอบในหลักการของร่างกฎหมายเท่านั้น โดยร่างอนุบัญญัติจะมีผลบังคับใช้เป็นกฎหมายก็ต่อเมื่อได้ผ่านกระบวนการออกกฎหมายจนเสร็จสิ้น... มิใช่การดำเนินการตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ในกฎหมายซึ่งจำเป็นต้องรอการมีผลเป็นกฎหมายก่อนดังนั้น...
เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามขั้นตอนของการบริหารราชการแผ่นดิน เรื่องที่กรรมการร่างกฎหมายจะพิจารณาให้ความเห็นทางกฎหมาย... ตามข้อนี้เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วให้ใช้บังคับได้ตามกฎหมายและระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกาว่าด้วยการรับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายของกรรมการร่างกฎหมาย... พ.ศ. ๒๕๒๒ ข้อ ๙ (๒) กำหนดว่า กรรมการร่างกฎหมายจะไม่พิจารณาให้ความเห็นทางกฎหมายในเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของสถาบันอื่นอยู่แล้วตามกฎหมาย...
โดยหากนิติบุคคลใดมีสถานะเป็นนิติบุคคลสัญชาติไทยแล้ว นิติบุคคลนั้นย่อมได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายไทยในฐานะที่เป็นนิติบุคคลไทยตามที่กฎหมายนั้นๆ... สถานะการเป็นนิติบุคคลสัญชาติไทยที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายไทยกับการมีลักษณะเป็นคนต่างด้าวตามบทบัญญัติของกฎหมายที่ควบคุมหรือเกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจหรือตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว... ตามที่กำหนดในกฎหมายที่ควบคุมหรือเกี่ยวข้องกับนิติบุคคลนั้นโดยเฉพาะหรือตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวด้วยเสมอ...
พ.ศ. ๒๔๙๘ และพระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๔๙๘ จะเห็นได้ว่ากฎหมายทั้งสองฉบับนี้เป็นกฎหมายที่มีที่มาจากกฎหมายฉบับเดียวกัน... กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๙ โดยปรากฏเหตุผลในการตราพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับนี้ว่าเพื่อแยกกฎหมายว่าด้วยวิทยุคมนาคมและกฎหมายว่าด้วยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ออกจากกัน... เพราะในเรื่องการควบคุมและกำหนดความถี่นั้นเห็นได้ชัดว่ากฎหมายประสงค์จะให้เป็นอำนาจของอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น...
และมีความเห็นแยกเป็น ๒ ฝ่าย กรรมการร่างกฎหมาย กองที่ ๑ ฝ่ายข้างมากเห็นว่า โดยที่ในวิเคราะห์ศัพท์ดังกล่าวกฎหมายใช้ถ้อยคำชัดเจนว่า... สิ่งปลูกสร้างนั้นย่อมอยู่ในความหมายของคำว่า “อาคาร” กรรมการร่างกฎหมาย กองที่ ๑... เมื่อกฎหมายมิได้ใช้คำว่า “ที่ดิน” ให้ชัดเจน แสดงว่าไม่ประสงค์จะใช้คำว่า “ที่” หมายถึงที่ดินทั้งแปลงแต่ต้องการให้หมายความจำกัดเฉพาะแนว...