๑๒๘๖/๒๕๐๒ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๐๒ ขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ความเห็นในปัญหากฎหมายของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับพระราชบัญญัติเงินตรา... หลักทรัพย์รัฐบาลไทยก็ดี ตั๋วเงินก็ดี สินทรัพย์อย่างอื่นก็ดี ที่ให้คำนวณราคาในอัตราต่างๆ กันนั้น หมายถึงส่วนที่ได้รับขึ้นบัญชีเป็นทุนสำรองเงินตราแล้วโดยเฉพาะ... ถ้าเป็นของธนาคารแห่งประเทศไทยย่อมได้แก่ฝ่ายการธนาคาร คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...
นั้น กรมบัญชีกลางในฐานะที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงการคลังให้กำกับดูแลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจจึงขอหารือแนวทางการใช้บังคับพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่... พ.ศ. ๒๕๓๙ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะพิเศษ) ได้พิจารณาข้อหารือดังกล่าวโดยได้ฟังคำชี้แจงจากผู้แทนกระทรวงการคลัง... เป็นการขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาอธิบายถึงขอบเขตและเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กรณีที่ขอหารือจึงไม่ใช่การขอความเห็นในปัญหาข้อกฎหมายของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ...
บันทึก เรื่อง การแก้ไขพระราชบัญญัติฎีกาอุทธรณ์ พ.ศ. ๒๔๖๑ มาตรา ๗ ตามหลักกฎหมายวิธีพิจารณาที่ใช้อยู่ในเวลานี้... คู่ความมีสิทธิจะร้องถวายฎีกาได้ในปัญหาข้อกฎหมาย แต่ปัญหาข้อเท็จจริงนั้น ได้บัญญัติห้ามไว้เป็นบางส่วน... มิได้มุ่งหมายจะให้มีผู้แอบอ้างอำนาจนั้นหาประโยชน์ส่วนตัวหรือให้ใช้เป็นเครื่องมือหลบเลี่ยงข้อห้ามที่กำหนดไว้...
หรือออกสู่สิ่งแวดล้อมนอกเขตที่ตั้งแหล่งกำเนิดมลพิษไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษที่กำหนดไว้ตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใดกำหนดโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา... เพื่อให้น้ำทิ้งหรือของเสียที่ระบายออกสู่สิ่งแวดล้อมเป็นไปเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย... รวมทั้งจะต้องมีมาตรการตรวจสอบและติดตามอย่างสม่ำเสมอโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐควบคู่กับมาตรการทางกฎหมายด้วย...
การยินยอมให้ลูกหนี้ผ่อนชำระหนี้ค่าภาระสินค้าโดยปลอดดอกเบี้ย ซึ่งคิดในอัตราตามที่กฎหมายกำหนด... และการเรียกดอกเบี้ยเนื่องจากการผิดนัดของลูกหนี้ก็เป็นการใช้สิทธิเรียกร้องในทางแพ่ง ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๒๒๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์... /๒๕๓๐ ว่า ความรับผิดของพนักงานของการท่าเรือฯในทางแพ่งย่อมเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์...
การซื้อหุ้นหรือถือหุ้นในสหกรณ์ด้วยกันเองตามมาตรา ๒๒ (#) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ยังไม่มีความชัดเจนในข้อกฎหมายว่าสามารถกระทําได้... กรมส่งเสริมสหกรณ์พิจารณาแล้วเห็นว่า การซื้อหุ้นหรือถือหุ้นในสหกรณ์อื่น เป็นประเด็นปัญหาในข้อกฎหมาย... สหกรณ์อาจนําเงินไปลงทุนโดยการซื้อหุ้นของขุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น จึงต้องพิจารณาด้วยว่า แม้กฎหมายจะกําหนดให้สหกรณ์อาจซื้อหุ้นของสหกรณ์อื่นได้...
โดยอ้างว่าองค์การบริหารส่วนตำบลพงศ์ประศาสน์ไม่มีอำนาจหน้าที่และสิทธิในการบริหารการจัดเก็บค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงรักษา ทั้งไม่มีกฎหมายรองรับ... ระเบียบข้อบังคับกลุ่มเกษตรกรและผู้ใช้น้ำสภาตำบลพงศ์ประศาสน์ พ.ศ. ๒๕๓๓ สามารถบังคับใช้กับสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำและถือเป็นกฎหมายหรือไม่... ประธานกลุ่มผู้ใช้น้ำจะเก็บค่าธรรมเนียมและค่าบำรุงรักษาได้หรือไม่ รวมทั้งระเบียบฯ จะสามารถบังคับใช้กับสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ำและถือเป็นกฎหมายหรือไม่...
หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจ นั้น เห็นว่า การใช้ถ้อยคำว่า “ไม่ดำรงตำแหน่งใด” นั้น หากกฎหมายมิได้ระบุตำแหน่งชัดเจน... กรรมการ ที่ปรึกษา หุ้นส่วนผู้จัดการ ตัวแทน พนักงาน หรือลูกจ้าง เป็นต้น หากกฎหมายประสงค์จะระบุตำแหน่งใดอันเป็นคุณสมบัติของประธานกรรมการและกรรมการแล้ว... เห็นว่า บทบัญญัติส่วนนี้ประสงค์จะห้ามเฉพาะการมีส่วนได้เสียทางตรงเท่านั้น เพราะหากกฎหมายประสงค์จะห้ามการมีส่วนได้เสียทางอ้อมด้วยก็จะต้องบัญญัติไว้อย่างชัดเจน...
ส่วนวิธีการยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลม... การยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนี้ผู้ค้างภาษีอากร จึงต้องดำเนินการตามมาตรา ๒๗๑ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง... โดยอาศัยและตามคำบังคับที่ออกตามคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้น จะเห็นได้ว่าการบังคับคดีตามมาตรา ๒๗๑ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง...
ที่ไม่ถูกคัดค้านทุกคนให้มาประชุมและลงมติในเรื่องนี้เพื่อป้องกันปัญหาข้อกฎหมายที่อาจเกิดขึ้น... ที่ต้องการให้ดำเนินการประชุมเพื่อพิจารณาเหตุคัดค้านต่อไปได้แม้กรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม ดังนั้น ตามหลักการตีความกฎหมาย... และการประชุมครั้งหลังมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมแล้ว จะเห็นได้ว่าในกรณีที่กฎหมายประสงค์ให้พิจารณาจากจำนวนกรรมการทั้งหมดก็จะกำหนดไว้ชัดเจน...