หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น... ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.๒๕๒๒แต่อย่างใด คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทหรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น...
ว่าจะเข้าลักษณะเป็นมหรสพตามประมวลรัษฎากรหรือไม่ ตามความประสงค์ของกระทรวงการคลัง นั้น คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... เงินที่ผู้ดูเสียเป็นค่าตั๋วรวมตลอดถึงค่าอย่างอื่นที่เสียให้แก่เจ้าของ” เป็นหลักในการพิจารณาประกอบกัน เพราะกฎหมายได้บัญญัตินิยามนั้นๆ... สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตุลาคม ๒๕๐๘ ความเห็นแย้งของพระยาอิศรภักดีธรรมวิเทต กรรมการร่างกฎหมาย...
และเรื่องใดควรอ้างชื่อหน่วยราชการหรือตนเอง คณะกรรมการกฤษฎีกา (อนุกรรมการร่างกฎหมายชุดที่... ๓ พร้อมด้วยกรรมการร่างกฎหมายชุดที่ ๑,๒ และ ๔ อีกบางท่าน) ได้พิจารณาแล้ว ในเบื้องต้นควรทำความเข้าใจเสียก่อนว่า... จะใช้คำว่า "รัฐบาล" ก็ได้ (ค) ในบทกฎหมายที่จะประกาศใช้ต่อไปในภายหน้า ถ้ามีความประสงค์จะให้ราชการหน่วยใดหน่วยหนึ่ง...
ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ครูหรือบุคคลอื่นพักเป็นการชั่วคราว โดยเก็บค่าบำรุงรายวันจะเป็น “หอพัก” หรือเป็น “โรงแรม” ตามกฎหมาย... มาตรา ๓ และมาตรา ๒๖ หรือไม่ ความทราบอยู่แล้ว นั้น คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย... เพื่อให้เป็นไปตามข้อ ๔ แห่งระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกาว่าด้วยการรับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายของกรรมการร่างกฎหมาย...
สิ่งที่ส่งมาด้วย ระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกา ว่าด้วยการรับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมาย... แห่งระเบียบคณะกรรมการกฤษฎีกาฯ (ตามสิ่งที่ส่งมานี้) ได้กำหนดว่า “เรื่องที่กรรมการร่างกฎหมายจะพิจารณาให้ความเห็นจะต้องเป็นเรื่องที่ได้มีการปรึกษาหารือระหว่างส่วนราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบหรือรักษาการตามกฎหมายแล้ว... แล้วหรือไม่ หรือได้มีการปรึกษาหารือกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ผู้รักษาการตามกฎหมายมาแล้วหรือไม่...
คณะกรรมการกฤษฎีกาได้รับทราบความตลอดแล้ว ขอเรียนว่า การพิจารณาให้ความเห็นหรือตีความในปัญหากฎหมายต่าง... ที่ ๔๐/๒๔๘๔ ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๔๘๔) ไว้ว่า “ถ้ากระทรวงทบวงกรมใดมีความสงสัยในปัญหากฎหมายฉบับใดแล้ว... โดยที่เรื่องไม่ปรากฏว่ากรมการค้าต่างประเทศได้หารือกับเจ้ากระทรวงผู้รักษากฎหมายที่มีปัญหาเกิดขึ้นนี้...
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งไทย พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งเป็นกฎหมายเฉพาะที่กำหนดระบบการจัดเก็บภาษีอากรเป็นพิเศษแตกต่างจากประมวลรัษฎากรซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไป... เหล่านี้หากต่อมาส่งออกไปนอกราชอาณาจักรก็จะได้รับยกเว้นภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกอีกด้วย จะเห็นได้ว่า กฎหมายได้ถือปฏิบัติให้เขตประกอบการเสรี... จึงไม่อาจนำประมวลรัษฎากรซึ่งเป็นกฎหมายทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรมาใช้บังคับกับข้อหารือนี้...
แต่มีหน้าที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมใบอนุญาต เมื่อกฎหมายได้ให้อํานาจ กสทซ.... จึงมีอํานาจลดหย่อนหรือยกเว้นค่าธรรมเนียม ได้เฉพาะที่กฎหมายได้ให้อํานาจไว้เท่านั้น... เห็นว่าค่าธรรมเนียมที่กําหนดไว้แล้ว ไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขของกฎหมาย ดังกล่าว เซ่น...
คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ ๕) ได้พิจารณาปัญหาดังกล่าว ประกอบกับฟังคำชี้แจงของผู้แทนสำนักนายกรัฐมนตรี... โดยมีเงื่อนไขว่ากิจการเหล่านั้นจะต้องเป็นโครงการลงทุนที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนให้ความเห็นชอบ กรรมการร่างกฎหมาย... โดยผู้ได้รับการส่งเสริมการลงทุนต้องเป็นบริษัท มูลนิธิ หรือสหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น...
ได้มานั้น กฎหมายมุ่งประสงค์จะให้ ส.ป.ก.... แสดงให้เห็นอย่างซัดเจนว่ากฎหมายมิได้มีวัตถุประสงค์ให้ ส.ป.ก.... ได้จัดให้แก่เกษตรกรเข้าทําประโยชน์ ตามกฎหมายแล้ว และเกษตรกรนั้นยังใช้ประโยชน์อยู่...