ซึ่งสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเห็นว่าอาจเป็นการขัดกับมาตรา ๑๐๓ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย... อาจมีข้อโต้แย้งว่า การดำรงตำแหน่งหรือมีหน้าที่ในหน่วยราชการตามที่มาตรา ๑๐๓ (๑) ได้บัญญัติไว้นั้น... เมื่อมาตรา ๑๐๓ ได้บัญญัติยกเว้นให้เป็นได้เฉพาะกรรมาธิการของรัฐสภา วุฒิสภา หรือสภาผู้แทนราษฎร...
รัฐบาล" นอกจากมีความหมายว่า "ลักษณะการปกครองแห่งรัฐ" (Form of Polity) เช่น รัฐบาลแบบสมบูรณาญาสิทธิราช... "......การเสนอญัตติร่างพระราชบัญญัติใดๆ ถ้ารัฐบาลเป็นผู้เสนอไม่ต้องมีผู้รับรอง"... ไม่ควรบัญญัติว่ารัฐบาลหรือคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ก็เพื่อมิให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการใช้ชื่อในการเป็นโจทก์หรือจำเลยในศาล...
ความทราบอยู่แล้ว นั้น สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาขอเรียนว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาการตีความตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด... เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นว่า กรณีการเรียกประชุมสภาจังหวัดสามัญ กฎหมาย มาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด... เช่นกระทำการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๓) ผู้ว่าราชการจังหวัดย่อมมีอำนาจควบคุมได้ตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว้...
ย้ายไปตั้งทำการที่จังหวัดเพชรบูรณ์ แต่ผู้แทนคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นว่ากฎหมายที่มีอยู่ คือ พระราชบัญญัติให้อำนาจในการเตรียมป้องกันประเทศ... พุทธศักราช ๒๔๘๔ นั้น เป็นที่สงสัยว่าจะตีความถึงการบังคับให้ย้ายโรงงานซึ่งเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้หรือไม่... ที่ประชุมมีความเห็นว่า การพิจารณาความมุ่งหมายของคณะกรรมการส่งเสริมอุตสาหกรรมฯ โดยอาศัยพระราชบัญญัติให้อำนาจเตรียมป้องกันประเทศ...
กําหนดให้การบริหารราชการแผ่นดิน รัฐมนตรีต้องดําเนินการตาม บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ... และเป็นผู้มีอํานาจบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... ผิดพลาดในการระบุจํานวนเงินเดือนที่ได้รับในตําแหน่งใหม่เท่านั้น และการแก้ไขคําสังนี้ไม่เป็นการ ต้องห้ามตามบทบัญญัติมาตรา...
กระทรวงศึกษาธิการได้ส่งปัญหาข้อกฎหมายว่า กระทรวงเจ้าสังกัดจำเป็นต้องปฏิบัติตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีซึ่งสั่งการตามพระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์... กระทรวงศึกษาธิการมิได้ส่งปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าวให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตีความแต่อย่างใด แต่นายสมพงษ์ ศิริเจริญ ได้ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกาตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา...
พนักงานและลูกจ้างเหล่านี้จะถือว่าเป็นพนักงานองค์การของรัฐและมีสิทธิได้รับบัตรประจำตัวตามนัยพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวข้าราชการ... พนักงานสุขาภิบาลและพนักงานองค์การของรัฐ พงศ. ๒๔๙๘ และกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๐๔) ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัตินี้หรือไม่...
คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมายกองที่ ๓) ได้พิจารณาเรื่องนี้แล้ว มีความเห็นว่าพระราชบัญญัติเดินอากาศ... ซึ่งอาจเอามาใช้สำหรับเรื่องให้ออกกฎกระทรวงวางระเบียบการอื่นๆ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ได้...
แต่สงสัยว่าโรงงานน้ำตาลลำปางจะเป็นราชการหรือไม่ ถ้าหากโรงน้ำตาลลำปางเป็นราชการ จังหวัดก็ย่อมไม่มีอำนาจทำได้ เพราะมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากำไรเกินควรระบุว่า... “สิ่งของของทางราชการไม่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้” ความหมายของคำว่า ของทางราชการนั้น...
มูลหนี้ตามคำพิพากษาของศาลจังหวัดพิษณุโลกเข้าหลักเกณฑ์ที่จะส่งฟ้องเป็นคดีล้มละลายตามมาตรา ๗ มาตรา ๘ (๕) (๙) และมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย... หรือไม่ นั้น เห็นว่า แม้มูลหนี้ตามคำพิพากษาของศาลจังหวัดพิษณุโลกจะเกิดขึ้นก่อนเวลาที่พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่... กองทัพบกไม่สามารถบังคับได้ครบถ้วนตามคำพิพากษาและโดยเฉพาะอย่างยิ่งก็ไม่มีการดำเนินคดีล้มละลายซึ่งจะต้องปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลังด่วนที่สุด ที่ กก ๐๕๒๖.๖/ว ๑๐๑ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๓๙ แต่ประการใดจนกระทั่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่...