กรรมการร่างกฎหมายเห็นว่า มีทางทำได้ ๒ วิธี ซึ่งต่างก็มีผลดีและความไม่สะดวกดังนี้ วิธีแรก ออกพระราชบัญญัติเสียครั้งเดียวให้อำนาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนชื่อท้องที่ได้... วิธีไหนจะเหมาะกับทางปฏิบัติ แต่จะดำเนินตามวิธีหนึ่งวิธีใดก็ดี กรรมการร่างกฎหมายขอเสนอให้กล่าวข้อความไปในบทบัญญัติที่จะประกาศใช้ทุกคราวเป็นแบบเดียวกัน... ดังนี้ “พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎและข้อบังคับใดๆ ซึ่งได้ประกาศใช้ไปแล้ว และใช้บังคับแก่ท้องที่...
ได้ประชุมหารือตามเรื่องที่กระทรวงการต่างประเทศแจ้งมานั้นโดยตลอดแล้ว เห็นว่าหน้าที่ของกรรมการกฤษฎีกาตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา... ๕ (๒) ของพระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พุทธศักราช ๒๔๗๖ ซึ่งมีว่า “(๒) รับปรึกษาให้ความเห็นในทางกฎหมายแก่ทะบวงการเมือง... ไม่ปรากฏว่ามีปัญหาในทางกฎหมายที่จะต้องให้ความเห็นแต่ประการใด ฉะนั้น ถ้าคณะกรรมการกฤษฎีการับไว้พิจารณาก็จะเป็นการขัดกับพระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาดังกล่าวมาแล้วข้างต้น...
คณะกรรมการฯมีความเห็นว่า ข้อหารือดังกล่าวมีประเด็นปัญหาข้อกฎหมายบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง... การปฏิบัติงานของนายธีรยุทธ์ฯชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากไม่ชอบด้วยกฎหมายสามารถนำมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง... ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ นั้น เป็นหลักการที่กำหนดขึ้นเพื่อรองรับผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้อำนาจพิจารณาทางปกครองแต่มีเหตุบกพร่องในการดำรงตำแหน่ง...
จัดตั้งองค์การคลังสินค้า พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๕ บัญญัติให้มีคณะกรรมการองค์การคลังสินค้า... ส่วนราชการมอบหมายให้ข้าราชการปฏิบัติหน้าที่ราชการของกระทรวง โดยอาศัยอํานาจบังคับบัญชา ตามมาตรา ๒๐” และมาตรา ๒๑” แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน... พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่...
และมาตรา ๕๑ วรรคสี่ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ จากข้อเท็จจริงดังกล่าวข้างต้น... ส.ป.ก.จึงหารือปัญหาข้อกฎหมายในประเด็นดังต่อไปนี้ ๑) ข้าราชการดังกล่าวจะได้รับการคุ้มครองตามมาตรา ๖๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... ทั้งนี้ โดยนำหลักการของมาตรา ๖๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ....
ตามมาตรา ๔ (๑๐) แห่งพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ได้ให้ความหมายของ “ไปรษณียภัณฑ์... พุทธศักราช ๒๔๗๗ ประกอบกับมาตรา ๔ (๑)แห่งพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ... ตามมาตรา ๒๒แห่งพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ ประกอบกับมาตรา ๔ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย...
พ.ศ.๒๕๒๓ พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ.๒๕๒๓ และพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการช่วยเหลือบุตร... มาตรา ๕ แห่งพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการช่วยเหลือบุตร พ.ศ.๒๕๒๑ บัญญัติว่า... และพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรฯ หรือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มิได้มีบทบัญญัติกำหนดอายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องเงินสวัสดิการตามพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวไว้โดยเฉพาะ...
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานตามความเห็นของกระทรวงการคลัง แต่นายขจรพลเพิกเฉย กรมพัฒนาฝีมือแรงงานเห็นว่าตามมาตรา ๕๗ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง... (คณะพิเศษ) เคยมีความเห็นไว้ว่า หน่วยงานของรัฐไม่สามารถออกคำสั่งตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่... กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจึงต้องฟ้องคดีเพื่อบังคับตามสิทธิเรียกร้องภายในกำหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ทั้งนี้ ตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่...
ได้ยื่นคำเสนอเรื่องราวต่อคณะกรรมการเรื่องราวร้องทุกข์ว่าถูกทางจังหวัดกาญจนบุรีสั่งถอนคำสั่งเดิมที่ให้บรรจุและแต่งตั้งผู้เสนอเข้ารับราชการในตำแหน่งเสมียนศึกษาธิการจังหวัด โดยถือว่าขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๓๒ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาเสนอความเห็นว่า นายสุทัศน์ ห่วงประเสริฐ ไม่เป็นผู้ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๓๒ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน... เพราะเหตุนี้ ถ้าทางราชการสั่งให้ข้าราชการผู้ใดพ้นตำแหน่งหน้าที่ไปโดยปราศจากเหตุที่บัญญัติตามกฎหมาย...
เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๕ ซอบด้วยกฎหมายหรือไม่ อย่างไร นั้น โดยที่มาตรา ๑๒๐ (@) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ... คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ @) พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า โดยที่มาตรา ๑๐” (4) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ... ในมาตรา ๑๒" (๕) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏฯ มติสภามหาวิทยาลัยดังกล่าว จึงไม่ซอบด้วยกฎหมาย...