ไม่สามารถ ใช้พระราชบัญญัติเวนคืนที่ดินได้ ๑.๕ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (... เพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๓) ได้เคยให้ความเห็นไว้ในบันทึก การเวนคืน... จะเรียกคืนที่ดินนั้นคืนจากเกษตรกรมีได้ “ข้อ ๑๑ เกษตรหรือสถาบันเกษตรกรสินสิทธิหรือจะสินสิทธิการทําประโยชน์ในที่ดินเขตปฏิรูป...
บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การนับระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์เงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์... เรื่อง การนับระยะเวลาการใช้สิทธิอุทธรณ์เงินค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติว่าด้วย การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์... ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สรุปความได้ว่า ตามที่ได้มีการตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน...
บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การคำนวณดอกเบี้ยตามมาตรา ๒๖ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์... ๑๑) เห็นว่า เมื่อพิจารณาบทบัญญัติในมาตรา ๒๖ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์... บทบัญญัติดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ความคุ้มครองประโยชน์ของผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทน ในกรณีที่รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืนหรือตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์...
ซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น "ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืน... อันแรกเป็นเรื่องที่มีผลสำคัญมากกว่าอันหลัง (เป็นการบังคับให้โอนกรรมสิทธิ์) ร่างพระราชบัญญัติให้เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ที่บัญญัติว่า...
การใช้ที่ดินต้องเป็นการใช้เพื่อการปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิถือครองในที่ดินรวมทั้งการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐเป็นผู้นำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกร...
นโยบายในเรื่องการควบคุมค่าเช่านี้ เมื่อพิจารณาดูให้ลึกซึ้งแล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นทำนองการเวนคืนเคหะหรือที่ดิน...
มีวัตถุประสงค์เป็นการจัดระบบเกี่ยวกับสิทธิและการถือครองที่ดินให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินของตนเองหรือมีแต่ไม่เพียงพอแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยรัฐนำที่ดินของรัฐหรือที่ดินที่รัฐได้จากการจัดซื้อ เวนคืนหรือโดยประการอื่นใด...
กันยายน ๒๕๔๕ ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สรุปความได้ว่า ตามที่ได้มีพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลทุ่งสุขลา... แห่งพระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๙๔ ที่บัญญัติให้การนำทรัพย์สินจากการเวนคืนไปประกอบกิจการท่าเรืออันเป็นกิจการสาธารณูปโภค...
เทศบาลจะมีอำนาจหรือไม่ที่อนุญาตให้บริษัทเดินรถประจำทางสร้างที่พักคนโดยสารริมถนนหลวงซึ่งเดิมเป็นที่สาธารณะชานถนน (๓) ที่ดินริมทางหลวงอันเป็นที่ดินซึ่งเหลือเศษจากการตัดถนนที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาเวนคืนที่ดินไว้แล้วนั้น...
เพราะยอมให้แต่เฉพาะคนของประเทศที่เคยมีสัญญาทางพระราชไมตรียกเว้นไม่ต้องขึ้นศาลไทย และที่ยอมเวนคืนสิทธิอันนี้ให้... กลับได้รับผลอันแท้จริงตามร่างใหม่นี้ (ให้ดูความข้างต้นข้อ ๑ (ข) (ฆ)) (๓) ตามร่างใหม่ข้อ ๓ ที่ใช้คำว่า ยอมเวนคืนอำนาจชำระความให้...