หน้า 701 จากผลการค้นหาประมาณ 7,383 รายการ (0.06 วินาที)

อนุมาตรา ๓ ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมีความเห็น นั้น คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...

จะเป็นรัฐวิสาหกิจตามพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ หรือไม่ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...

มีความประสงค์ที่จะให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความในปัญหานี้ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...

เพิ่มข้อความให้อำนาจกรมประชาสัมพันธ์ดังกล่าวไว้ในร่างกฎกระทรวงฯ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย...

ขอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีในปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับปัญหาเรื่องพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่อำเภอเมืองกาญจนบุรี... ขณะนี้การอนุญาตประทานบัตรในเขตที่ดินหวงห้ามในท้องที่ดังกล่าวกระทำได้โดยไม่มีข้อขัดข้องประการใด เพราะได้รับความร่วมมือจากกระทรวงกลาโหมอยู่แล้ว เมื่อได้วินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายเช่นนี้แล้ว...

และการวิจัยก็กระทำโดยอิสระมิได้อยู่ภายใต้คำสั่งหรือความควบคุมของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติแต่ประการใด ฉะนั้น ผลการวิจัยจึงไม่อยู่ในข่ายของข้อยกเว้นตามกฎหมายอันจะเป็นผลให้ลิขสิทธิ์ในผลการวิจัยตกเป็นของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและตามความมุ่งหมายของการให้ทุนตามที่ได้ปรากฏในระเบียบดังกล่าว...

หาใช่เรื่องออกตามวาระไม่ ฉะนั้น จึงยังคงเหลือกรณีเดียวคือ ยุบสภา อนึ่ง คำว่า “ยุบสภา” ก็มีความหมายว่า... เดิมก็ยังคงมีสภาพเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๑๘ อยู่ โดยไม่ต้องตั้งขึ้นใหม่ คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมายครบคณะ... รัฐธรรมนูญได้บัญญัติถึงผลของการยุบสภาไว้ดังนี้ (๑) ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกใหม่เฉพาะในส่วนสมาชิกประเภทที่ ๑ (มาตรา ๑๑๘) ซึ่งหมายความว่า...

ตำแหน่งและการเลื่อนชั้นของข้าราชการในพิพิธภัณฑ์สถานฯ ให้เป็นไปเช่นเดียวกันกับข้าราชการพลเรือน ในเวลานี้ยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนทั่วไป... ๒๐ นั้นก็เช่นเดียวกับอำนาจที่จะออกกฎข้อบังคับเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ อันมอบหมายแก่เสนาบดีในเรื่องอื่นๆ...

ดังนี้ ฝ่ายที่หนึ่ง เห็นว่า การเบิกจ่ายเงินประจําตําแหน่งต้องมาจากฐานอํานาจ ตามกฎหมาย... มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยขอหารือปัญหาข้อกฎหมายดังกล่าว ต่อคณะกรรมการกฤษฎีกา กระทรวงมหาดไทยจึงขอหารือในประเด็น...

ได้กำหนดให้บริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทใดๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน... ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ ด้วย จากบทบัญญัติดังกล่าวจะเห็นได้ว่า กฎหมายมีความประสงค์ที่จะรับรองสิทธิของบริษัทหลักทรัพย์และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตอยู่เดิมให้สามารถประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามที่ได้รับอนุญาตต่อไปได้...